Search
Close this search box.

เทคโนโลยี 3D Printing มีกี่แบบ ต่างกันอย่างไร

ข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับ 3D Printing

เครื่อง 3D Printer ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากจากบุคคลทั่วไป โรงงาน และภาคการศึกษา เนื่องจากสามารถสร้างสินค้าและผลิตภัณฑ์ รวมถึงงานต้นแบบ (Rapid Prototype) ได้อย่างรวดเร็ว ลงทุนน้อย และไม่ต้องใช้เครื่องจักรขนาดใหญ่ที่มีความยุ่งยากเหมือนในอดีต หลักการทำงานของเครื่อง 3D Printer มี 4 ขั้นตอนตามภาพด้านล่าง

  1. สร้างแบบจำลอง 3 มิติ (3D Model) โดยใช้โปรแกรมเขียนแบบในคอมพิวเตอร์ เช่น Solidworks Autocad Sketchup Rhino
  2. นำแบบจำลองดังกล่าวเข้าสู่โปรแกรม Slice เฉือนชิ้นงานออกเป็นชั้นๆ ตามความละเอียดที่ทำได้
  3. เติ่มเนื้อ (Additive) ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ ทีละชั้น จนได้งานตามแบบ
  4. ขัด ตกแต่ง ประกอบ ทำสี ชิ้นงานตามต้องการ

เทคโนโลยีการเติมและวัสดุที่ใช้ในปัจจุบันมีหลากหลายมีข้อดี-ด้อยแตกต่างกันออกไป ดังนั้นบทความนี้ได้รวบรวม 6 เทคโนโลยีหลักที่ใช้ในปัจจุบัน เพื่อเป็นข้อมูลให้คนที่สนใจเลือกใช้ให้เหมาะสมกับความต้องการ

Fused Deposition Modeling

FDM/ FFF

เทคโนโลยี 3D Printing มีกี่แบบ ต่างกันอย่างไร

Stereolithography

SLA/DLP

เทคโนโลยี 3D Printing มีกี่แบบ ต่างกันอย่างไร

Selective Laser Sintering

SLS

เทคโนโลยี 3D Printing มีกี่แบบ ต่างกันอย่างไร

Metal Printing

SLM, Binder, EBM

เทคโนโลยี 3D Printing มีกี่แบบ ต่างกันอย่างไร

Fused Deposition Modeling (FDM)

FDM เป็นเทคโนโลยีของเครื่อง 3D Printer ที่เกิดขึ้นอันดับแรกๆ โดยประดิษฐ์และคิดค้นขึ้นโดย Scott Crump ในปี 1989 ร่วมกับภรรยาของเขาคือ Lisa Crump ทั้งสองคนได้ก่อตั้งบริษัท Stratasys ที่เป็นบริษัทด้าน 3D Printing ที่ใหญ่ระดับโลกอยู่ในตลาดหุ้น NASDAQ ของประเทศอเมริกา มีรายได้ต่อปีมากกว่า 20,000 ล้านบาท เทคโนโลยี FDM นั้นมีส่วนประกอบหลักคือ วัสดุที่เป็นเส้นลวดพลาสติก (Filament) ระบบดันเส้น (Extruder) ระบบการเคลื่อนที่ สุดท้ายคือระบบให้ ความร้อนและหัวฉีด (Nozzle) ซึ่งทำงานสัมพันธ์กันทั้งหมด

เทคโนโลยี 3D Printing มีกี่แบบ ต่างกันอย่างไร
เทคโนโลยี 3D Printing มีกี่แบบ ต่างกันอย่างไร

ข้อดี

  • ระบบการทำงานง่ายไม่ซับซ้อน ค่าบำรุงรักษาต่ำ
  • วัสดุให้ใช้หลากหลาย หาซื้อได้ง่าย
  • ความแข็งแรงขึ้นกับชนิดของ Filament
  • เป็นเทคโนโลยีที่สะอาด ปลอดภัยกว่าเทคโนโลยีอื่นๆ
  • ราคาเครื่องมีให้เลือกตั้งแต่ DIY จนไปถึงระดับเครื่องมาตรฐานอุตสาหกรรม
  • ตกแต่งชิ้นงานหลังการพิมพ์ด้วยเครื่องมือทั่วๆไปได้
  • ใช้ทักษะและเวลาในการเรียนรู้น้อยกว่ากระบวนการอื่นๆ

ข้อดี

  • ระบบการทำงานง่ายไม่ซับซ้อน ค่าบำรุงรักษาต่ำ
  • วัสดุให้ใช้หลากหลาย หาซื้อได้ง่าย
  • ความแข็งแรงขึ้นกับชนิดของ Filament
  • เป็นเทคโนโลยีที่สะอาด ปลอดภัยกว่าเทคโนโลยีอื่นๆ
  • ราคาเครื่องมีให้เลือกตั้งแต่ DIY จนไปถึงระดับเครื่องมาตรฐานอุตสาหกรรม
  • ตกแต่งชิ้นงานหลังการพิมพ์ด้วยเครื่องมือทั่วๆไปได้
  • ใช้ทักษะและเวลาในการเรียนรู้น้อยกว่ากระบวนการอื่นๆ

Stereolithography (SLA, DLP)

FDM เป็นเทคโนโลยีของเครื่อง 3D Printer ที่เกิดขึ้นอันดับแรกๆ โดยประดิษฐ์และคิดค้นขึ้นโดย Scott Crump ในปี 1989 ร่วมกับภรรยาของเขาคือ Lisa Crump ทั้งสองคนได้ก่อตั้งบริษัท Stratasys ที่เป็นบริษัทด้าน 3D Printing ที่ใหญ่ระดับโลกอยู่ในตลาดหุ้น NASDAQ ของประเทศอเมริกา มีรายได้ต่อปีมากกว่า 20,000 ล้านบาท เทคโนโลยี FDM นั้นมีส่วนประกอบหลักคือ วัสดุที่เป็นเส้นลวดพลาสติก (Filament) ระบบดันเส้น (Extruder) ระบบการเคลื่อนที่ สุดท้ายคือระบบให้ ความร้อนและหัวฉีด (Nozzle) ซึ่งทำงานสัมพันธ์กันทั้งหมด

Leave a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *

ติดตามข่าวสารและบทความ

บทความน่าสนใจอื่นๆ

3D Printing Technology

รีวิวฟีเจอร์ Chitubox 2.0 กับฟีเจอร์ใหม่ที่ต้องรู้

Chitubox 2.0 กับคู่แข่งมากขึ้น นอกจากการแข่งขันด้านการพัฒนาเครื่องรุ่นใหม่ๆ แล้ว ด้านโปรแกรมกลุ่ม Slicer ก็มีผู้เล่นหน้าเก่า

อ่านต่อ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บการใช้งานของคุณบนเวบไซต์ของเรา เพื่อประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาระบบที่ดีในการใช้งานเวบไซต์ หากท่านไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถปรับปรุงและพัฒนาเวบไซต์เพื่อตอบสนองความต้องการได้
    Cookies Details

บันทึก