3D Printer นวัตกรรมการผลิตสมัยใหม่




ข้อดีของเทคโนโลยี 3D Printing
1. ต้นทุนการผลิตต่ำ รองรับการสร้างงานต้นแบบหรือผลิตจำนวนน้อย


2. อิสระด้านการดีไซน์ผลิตภัณฑ์


3. การดัดแปลงแก้ไขชิ้นงาน



ขั้นตอนการทำงานของเครื่องพิมพ์ 3 มิติ
1. การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ (3D modelling)

2. การสไลด์แบบจำลอง 3 มิติ (Slicing)


3. การพิมพ์ 3 มิติ (Printing)


4. การตกแต่งชิ้นงานหลังการพิมพ์ (Post processing)
ขั้นตอนสุดท้ายคือการตกแต่งชิ้นงานหลังการพิมพ์ ซึ่งผู้ใช้สามารถที่จะขัด (Polishing) ทำสี (Painting) หรือนำชิ้นงานหลายๆชิ้นมาประกอบหรือติดกาวเข้าด้วยกัน โดยแต่ละเทคโนโลยีของเครื่อง 3D Printer ก็จะมีขั้นตอนที่แตกต่างกันออกไป


เทคโนโลยีหลักของเครื่อง 3D Printer





วัสดุสำหรับเครื่องพิมพ์ 3D
วัสดุที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ 3 มิติ มีทั้งพลาสติก (Polymer) เรซิน (Resin) โลหะ (Metal) เซรามิกส์ (Ceramic) ปูน (Cement) ซิลิโคน รวมไปถึงวัสดุชีวภาพอย่างเนื้อเยื่อหรือที่เรียกกันว่า “BioInk” แต่โดยทั่วไปแล้ว จะหมายถึงเครื่องที่ใช้เส้นพลาสติก (Filament) เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากเป็นเครื่องที่นิยมใช้กันมากที่สุด และสามารถประยุกต์ใช้กับการพิมพ์ด้วยวัสดุต่างๆ เช่น ซีเมนต์






เริ่มต้นอยากใช้งานเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ควรทำอย่างไร
ปัจจุบันเครื่องพิมพ์ 3D นั้นมีหลากหลายเทคโนโลยี แต่ที่บุคคลทั่วไปสามารถจัดหาซื้อได้ คงเป็นเทคโนโลยีแบบเส้นพลาสติก (Fused Deposition Modelling) หรือ FDM อีกแบบคือใช้เรซินเป็นวัตถุดิบหรือ SLA (รายละเอียดสามารถอ่านได้ในบทความนี้)
ราคาของเครื่องมีตั้งแต่ราวๆ 8,000 บาท ที่เป็นเครื่องชนิด DIY ต้องประกอบขึ้นเอง และตั้งค่าเองระดับหนึ่ง จนไปถึงหลัก 2 หมื่นบาท ที่ส่วนใหญ่จะพร้อมสำหรับใช้งานตั้งแต่แกะกล่อง หรือในอีกกรณีหากยังไม่จำเป็นต้องซื้อเครื่อง หลายๆร้านที่ขายอยู่ตอนนี้ก็มีบริการพิมพ์ 3 มิติ ในราคาที่ไม่แพง เหมาะสำหรับคนที่ต้องการชิ้นงานมากกว่าตัวเครื่อง ซึ่งก็เป็นอีกวิธีที่ดี และไม่ต้องลงทุนมาก
ต้องการใช้บริการ 3D Printing Service