Search
Close this search box.

Engineering 3D Printer สำหรับงานวิศวกรรมโดยเฉพาะ

เครื่อง 3D Printer สำหรับงานด้านวิศวกรรม (Engineering) ต้องการเครื่องที่รองรับวัสดุที่มีความแข็งแรงมากกว่า PLA เช่น ABS PC Nylon PP หรือ Composite แตกต่างกันออกไป ขึ้นกับการลักษณะงาน ซึ่งวัสดุกลุ่มดังกล่าวต้องการเครื่องที่มีคุณภาพของชิ้นส่วน และการประกอบที่ดีกว่าเครื่องทั่วๆไป ตามท้องตลาด รวมทั้งมีฟังก์ชั่นครบครัน เพื่อไม่ให้การทำงานติดขัด

ข้อพิจารณาการเลือกซื้อเครื่อง Engineering 3D Printer

  • เลือกให้เหมาะสมกับขนาดของผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้งาน การเลือกไซส์ที่ใหญ่เกินไปจะเปลืองทั้งต้นทุนและพลังงานที่ใช้

FDM

  • ABS PC Nylon งานขนาดไม่เกิน 20 cm ควรใช้เครื่องที่มีฝาครอบปิด ควบคุมอุณหภูมิ ให้คงที่ หัวฉีดควรทำอุณหภูมิได้ 300 องศาเซลเซียสเป็นอย่างน้อย
  • หากชิ้นงานใหญ่กว่า 20 cm ควรเป็นเครื่องที่มีระบบทำความร้อนภายในเครื่อง (Heating Chamber) อย่างน้อย 80 องศาเซลเซียส เพื่อให้ชิ้นงานแข็งแรง พิมพ์ได้สมบูรณ์
  • สำหรับวัสดุ PEEK Ultem PEI  ควรเลือกเครื่องระดับอุตสาหกรรม ใช้ชิ้นส่วนคุณภาพ หัวฉีดควรทำอุณหภูมิได้ 450 องศาเซลเซียสเป็นอย่างน้อย

Resin

  • ควรรองรับเรซินกลุ่มวิศวกรรม เช่น Tough PP หรือ ABS resin ที่มีความแข็งแรงกว่าเรซินทั่วไป
  • ความละเอียดในระดับ 50 ไมครอน ขึ้นไป หรือกรณีงานใหญ่ ควรมีหัวพิมพ์รองความละเอียด 400-600 ไมครอนขึ้นไป
  • มีระบบพิมพ์ต่อจากไฟดับ ระบบตรวจจับเส้นหมด ระบบติดตามการพิมพ์ออนไลน์ หรือ Cloud
  • โครงสร้างแข็งแรง เป็นระบบปิดป้องกันกลิ่นและควบคุมอุณหภูมิให้คงที่

ตัวอย่างงานด้านวิศวกรรม

Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ

เครื่อง 3D Printer ที่เหมาะสม

บทความวัสดุวิศวกรรมสำหรับเครื่อง 3D Printer

Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Printing Technology

3D Printing PEEK filament

Polyether ether ketone (PEEK) เราจะคุ้นชินกับชื่อ “PEEK” ซึ่งเป็นพอลิเมอร์เทอร์โมพลาสติกอินทรีย์ที่ไม่มีสี อยู่ในตระกูลเดียวกับ polyaryl ether ketone (PAEK)

อ่านต่อ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Printing Materials

3D Print Rubber

3D Print Rubber ในความเป็นจริงแล้วเรายังไม่พบความเป็นไปได้ไหมที่จะพิมพ์ยางด้วยการพิมพ์ 3 มิติ จาก 3D Printer เนื่องจากยางเป็นวัสดุอินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัว โดยธรรมชาติของยางนั้น เมื่อยางผ่านกระบวนการวัลคาไนเซชัน

อ่านต่อ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Printing Materials

3D Print Diamond

Diamond หรือ เพชร ชื่อที่เราเรียกกันจนคุ้นชินเป็นชื่อแก้วที่แข็งที่สุด มีการหักเหแสงมากที่สุดจึงมีน้ำแวววาวมากกว่าพลอยอื่น ๆ ใช้ทำเครื่องประดับ หรือใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม เช่น ใช้ตัดของแข็ง เป็นต้น ซึ่งการขึ้นรูปแบบดั้งเดิมจะใช้ช่างฝีมือในการเจียระไนเพชร

อ่านต่อ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Printing Materials

เจาะลึก Nylon วัสดุ 3D Printing ยอดนิยมสำหรับงานวิศวกรรม

Nylon วัสดุวิศวกรรมสำหรับ 3D Printing ไนลอน (Nylon) เป็นพลาสติกสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มี Application การใช้งานกว้าง และหลากหลายมาก เช่น เชือก

อ่านต่อ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Design

การหาค่าขนาด การสวมประกอบที่เหมาะสมสำหรับชิ้นงานที่ผลิตจาก 3D Printer

การออกแบบสำหรับงานสวมประกอบสำหรับบุคคลทั่วไป พื้นฐานการออกแบบงานสวมประกอบ (Fitting, Assembly) ระหว่างชิ้นงาน 2 ชนิด คือ ต้องเผื่อขนาดการสวมประกอบทุกครั้ง ภาษาช่างใช้คำว่า สวมอัด สวมคลอน

อ่านต่อ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Printing Materials

Metal 3D Printer เทคโนโลยีการผลิตขั้นสูงในปัจจุบัน

Metal 3D Printer มีผลอย่างไรต่อการผลิต Metal 3D printer เป็นเทคโนโลยีใหม่ในระบบการผลิตของอุตสาหกรรม โดยจะเปลี่ยนการออกแบบใหม่ทั้งหมด (re-design) เพื่อให้มีน้ำหนักลดลง มีรูปร่างที่ซับซ้อนได้มากขึ้น

อ่านต่อ
Fun 3d Printing design to try
3D Printing Technology

รวมไอเดียความสนุกจาก 3D Printing

ไม่เพียงเปลี่ยนวิธีการผลิตสินค้าในระดับอุตสาหกรรมเท่านั้น 3D Printing ยังเข้าสู่กระบวนการทำงานของวิศวกร งานอดิเรก การศึกษา การสร้าง 3D Model มีวิธีการต่างๆ มากมาย บทความนี้ขอเน้นไปที่ไฟล์พื้นฐานทั่วไป

อ่านต่อ
vacuum forming cover
3D Printing Technology

Vacuum Forming Machine เครื่องมือผลิตชิ้นงานตัวใหม่ของชาว Maker

เครื่อง Vacuum Forming ทำงานอย่างไร ? การขึ้นรูปแบบ Vacuum หรือ  Thermoforming เป็นการอัดขึ้นรูปพลาสติกแผ่น ให้กลายเป็นรูปร่างที่ต้องการ ไม่ซับซ้อน

อ่านต่อ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Printing Materials

3D printer PAEK filament

Poly aryl ether ketone (PAEK) PAEK เริ่มถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรกในช่วงต้นปี 1970 มีชื่อเต็มว่า “Poly aryl ether

อ่านต่อ
vacuum forming cover
3D Printing Technology

การออกแบบแม่พิมพ์จากเครื่อง 3D Printer เพื่อใช้กับเครื่อง Vacuum Forming

เทคโนโลยีหรือเทคนิคของกระบวนการ Vacuum forming เป็นกระบวนการผลิตที่เกี่ยวข้องกับความร้อนและใช้ความดันสูญญากาศเป็นหลักสำคัญ อีกหนึ่งปัจจัยที่ไม่ควรละเลย คือ การออกแบบแม่พิมพ์เพื่อใช้งาน 3D Printed Vacuum Forming Design

อ่านต่อ

Contact us

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บการใช้งานของคุณบนเวบไซต์ของเรา เพื่อประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาระบบที่ดีในการใช้งานเวบไซต์ หากท่านไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถปรับปรุงและพัฒนาเวบไซต์เพื่อตอบสนองความต้องการได้
    Cookies Details

บันทึก