Search
Close this search box.

Engineering 3D Printer สำหรับงานวิศวกรรมโดยเฉพาะ

เครื่อง 3D Printer สำหรับงานด้านวิศวกรรม (Engineering) ต้องการเครื่องที่รองรับวัสดุที่มีความแข็งแรงมากกว่า PLA เช่น ABS PC Nylon PP หรือ Composite แตกต่างกันออกไป ขึ้นกับการลักษณะงาน ซึ่งวัสดุกลุ่มดังกล่าวต้องการเครื่องที่มีคุณภาพของชิ้นส่วน และการประกอบที่ดีกว่าเครื่องทั่วๆไป ตามท้องตลาด รวมทั้งมีฟังก์ชั่นครบครัน เพื่อไม่ให้การทำงานติดขัด

ข้อพิจารณาการเลือกซื้อเครื่อง Engineering 3D Printer

  • เลือกให้เหมาะสมกับขนาดของผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้งาน การเลือกไซส์ที่ใหญ่เกินไปจะเปลืองทั้งต้นทุนและพลังงานที่ใช้

FDM

  • ABS PC Nylon งานขนาดไม่เกิน 20 cm ควรใช้เครื่องที่มีฝาครอบปิด ควบคุมอุณหภูมิ ให้คงที่ หัวฉีดควรทำอุณหภูมิได้ 300 องศาเซลเซียสเป็นอย่างน้อย
  • หากชิ้นงานใหญ่กว่า 20 cm ควรเป็นเครื่องที่มีระบบทำความร้อนภายในเครื่อง (Heating Chamber) อย่างน้อย 80 องศาเซลเซียส เพื่อให้ชิ้นงานแข็งแรง พิมพ์ได้สมบูรณ์
  • สำหรับวัสดุ PEEK Ultem PEI  ควรเลือกเครื่องระดับอุตสาหกรรม ใช้ชิ้นส่วนคุณภาพ หัวฉีดควรทำอุณหภูมิได้ 450 องศาเซลเซียสเป็นอย่างน้อย

Resin

  • ควรรองรับเรซินกลุ่มวิศวกรรม เช่น Tough PP หรือ ABS resin ที่มีความแข็งแรงกว่าเรซินทั่วไป
  • ความละเอียดในระดับ 50 ไมครอน ขึ้นไป หรือกรณีงานใหญ่ ควรมีหัวพิมพ์รองความละเอียด 400-600 ไมครอนขึ้นไป
  • มีระบบพิมพ์ต่อจากไฟดับ ระบบตรวจจับเส้นหมด ระบบติดตามการพิมพ์ออนไลน์ หรือ Cloud
  • โครงสร้างแข็งแรง เป็นระบบปิดป้องกันกลิ่นและควบคุมอุณหภูมิให้คงที่

ตัวอย่างงานด้านวิศวกรรม

Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ

เครื่อง 3D Printer ที่เหมาะสม

บทความวัสดุวิศวกรรมสำหรับเครื่อง 3D Printer

Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Printing Materials

3D Printer Materials Market Worth to Future

การพิมพ์ 3 มิติ ถูกกำหนดให้เป็นกระบวนการผลิตแบบเพิ่มเติมสำหรับการสร้างวัตถุของแข็งสามมิติ โดยการเพิ่มชั้นของวัสดุในลักษณะการเขียนวัตถุทีละชั้น อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์นี้เรียกว่าเป็น 3D Printer หรือเครื่องพิมพ์ 3 มิติ โดยตลาดวัสดุการพิมพ์

อ่านต่อ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Printing Technology

ชิ้นส่วนจากเครื่อง 3D Printer แทนชิ้นส่วนจากการผลิตทั่วไป ได้หรือไม่

3D Printer กับการผลิตในปัจจุบัน เป็นที่ทราบกันดีว่าในปัจจุบัน การที่จะหาซื้อเครื่อง 3D Printer หรือใช้บริการพิมพ์ 3 มิติ ไม่ใช่เรื่องยากเลย ในประเทศไทยเองก็มีผู้จำหน่ายอยู่จำนวนมาก

อ่านต่อ
vacuum forming cover
3D Printing Technology

การออกแบบแม่พิมพ์จากเครื่อง 3D Printer เพื่อใช้กับเครื่อง Vacuum Forming

เทคโนโลยีหรือเทคนิคของกระบวนการ Vacuum forming เป็นกระบวนการผลิตที่เกี่ยวข้องกับความร้อนและใช้ความดันสูญญากาศเป็นหลักสำคัญ อีกหนึ่งปัจจัยที่ไม่ควรละเลย คือ การออกแบบแม่พิมพ์เพื่อใช้งาน 3D Printed Vacuum Forming Design

อ่านต่อ
ABS printing
3D Printing Materials

Engineering Plastic Materials in 3D Printing Technology

What is Engineering Materials ? วัสดุวิศวกรรมคืออะไร คำว่าวัสดุวิศวกรรม หรือ Engineering Materials นั้น แต่เดิมไม่ได้มีคำนิยามอะไรที่เฉพาะเจาะจงลงไป

อ่านต่อ
Engineering 3D Printer สำหรับงานทางวิศวกรรมโดยเฉพาะ
3D Printing Materials

3D Printer Resin ที่น่าสนใจในปัจจุบัน

เรซิ่นสำหรับ 3D Printer ในปัจจุบัน นอกจากเรซิ่นที่ได้กล่าวไปแล้วในบทความ 3D Print- Resin ยังมีเรซิ่นอีกหลายชนิดที่น่าสนใจ สำหรับวัสดุการพิมพ์ 3 มิติ

อ่านต่อ

Contact us

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บการใช้งานของคุณบนเวบไซต์ของเรา เพื่อประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาระบบที่ดีในการใช้งานเวบไซต์ หากท่านไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถปรับปรุงและพัฒนาเวบไซต์เพื่อตอบสนองความต้องการได้
    Cookies Details

บันทึก