Engineering 3D Printer สำหรับงานวิศวกรรมโดยเฉพาะ
ข้อพิจารณาการเลือกซื้อเครื่อง Engineering 3D Printer
- เลือกให้เหมาะสมกับขนาดของผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้งาน การเลือกไซส์ที่ใหญ่เกินไปจะเปลืองทั้งต้นทุนและพลังงานที่ใช้
FDM
- ABS PC Nylon งานขนาดไม่เกิน 20 cm ควรใช้เครื่องที่มีฝาครอบปิด ควบคุมอุณหภูมิ ให้คงที่ หัวฉีดควรทำอุณหภูมิได้ 300 องศาเซลเซียสเป็นอย่างน้อย
- หากชิ้นงานใหญ่กว่า 20 cm ควรเป็นเครื่องที่มีระบบทำความร้อนภายในเครื่อง (Heating Chamber) อย่างน้อย 80 องศาเซลเซียส เพื่อให้ชิ้นงานแข็งแรง พิมพ์ได้สมบูรณ์
- สำหรับวัสดุ PEEK Ultem PEI ควรเลือกเครื่องระดับอุตสาหกรรม ใช้ชิ้นส่วนคุณภาพ หัวฉีดควรทำอุณหภูมิได้ 450 องศาเซลเซียสเป็นอย่างน้อย
Resin
- ควรรองรับเรซินกลุ่มวิศวกรรม เช่น Tough PP หรือ ABS resin ที่มีความแข็งแรงกว่าเรซินทั่วไป
- ความละเอียดในระดับ 50 ไมครอน ขึ้นไป หรือกรณีงานใหญ่ ควรมีหัวพิมพ์รองความละเอียด 400-600 ไมครอนขึ้นไป
- มีระบบพิมพ์ต่อจากไฟดับ ระบบตรวจจับเส้นหมด ระบบติดตามการพิมพ์ออนไลน์ หรือ Cloud
- โครงสร้างแข็งแรง เป็นระบบปิดป้องกันกลิ่นและควบคุมอุณหภูมิให้คงที่
ตัวอย่างงานด้านวิศวกรรม



เครื่อง 3D Printer ที่เหมาะสม
บทความวัสดุวิศวกรรมสำหรับเครื่อง 3D Printer

ชิ้นส่วนจากเครื่อง 3D Printer แทนชิ้นส่วนจากการผลิตทั่วไป ได้หรือไม่
3D Printer กับการผลิตในปัจจุบัน เป็นที่ทราบกันดีว่าในปัจจุบัน การที่จะหาซื้อเครื่อง 3D Printer หรือใช้บริการพิมพ์ 3 มิติ ไม่ใช่เรื่องยากเลย ในประเทศไทยเองก็มีผู้จำหน่ายอยู่จำนวนมาก

การออกแบบแม่พิมพ์จากเครื่อง 3D Printer เพื่อใช้กับเครื่อง Vacuum Forming
เทคโนโลยีหรือเทคนิคของกระบวนการ Vacuum forming เป็นกระบวนการผลิตที่เกี่ยวข้องกับความร้อนและใช้ความดันสูญญากาศเป็นหลักสำคัญ อีกหนึ่งปัจจัยที่ไม่ควรละเลย คือ การออกแบบแม่พิมพ์เพื่อใช้งาน 3D Printed Vacuum Forming Design

Engineering Plastic Materials in 3D Printing Technology
What is Engineering Materials ? วัสดุวิศวกรรมคืออะไร คำว่าวัสดุวิศวกรรม หรือ Engineering Materials นั้น แต่เดิมไม่ได้มีคำนิยามอะไรที่เฉพาะเจาะจงลงไป

3D Printer Resin ที่น่าสนใจในปัจจุบัน
เรซิ่นสำหรับ 3D Printer ในปัจจุบัน นอกจากเรซิ่นที่ได้กล่าวไปแล้วในบทความ 3D Print- Resin ยังมีเรซิ่นอีกหลายชนิดที่น่าสนใจ สำหรับวัสดุการพิมพ์ 3 มิติ

เรียนรู้วิธีทำเงินจาก 3D Printer
วิธีที่ง่ายที่สุดวิธีหนึ่งในการทำเงินจาก 3D Printer คือการนำเสนอเครื่องพิมพ์เป็นบริการเชิงพาณิชย์หรือขายสินค้าที่ทำด้วย ให้แก่ธุรกิจและบุคคลทั่วไปที่ต้องการวัตถุ หรือชิ้นงานผลิตจากการพิมพ์ 3 มิติ แต่ไม่มีเครื่องพิมพ์ วัสดุ หรืออุปกรณ์ นอกจากนี้ในฐานะนักออกแบบที่มีทักษะ

3D Print Rubber
3D Print Rubber ในความเป็นจริงแล้วเรายังไม่พบความเป็นไปได้ไหมที่จะพิมพ์ยางด้วยการพิมพ์ 3 มิติ จาก 3D Printer เนื่องจากยางเป็นวัสดุอินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัว โดยธรรมชาติของยางนั้น เมื่อยางผ่านกระบวนการวัลคาไนเซชัน

3D Printer Keep the environment
Eco-Friendly 3D Printing 3D Printer หรือการพิมพ์ 3 มิติมาพร้อมกับความกังวลด้านสิ่งแวดล้อมเช่นการปล่อยมลพิษที่เป็นอันตรายและการใช้พลาสติกในปริมาณมาก แต่ทุกคนก็พยายามทำอย่างดีเยี่ยมเพื่อช่วยสิ่งแวดล้อมจากการใช้การพิมพ์ 3 มิติ ไม่ว่าจะเป็นการรีไซเคิลพลาสติกในปริมาณมากพร้อมกับขยะพลาสติกอื่น

3D Printer Hydroponics Soilless Plant Cultivation
Hydroponics Soilless Plant Cultivation เป็นการปลูกพืชแบบไร้ดิน และเป็นส่วนหนึ่งของการปลูกพืชด้วยน้ำซึ่งเป็นวิธีการปลูกพืชโดยใช้สารละลายธาตุอาหารในน้ำโดยไม่ต้องการดิน พืชจะใช้รากในการดูดสารละลายในน้ำที่มีแร่ธาตุอาหารเท่านั้นโดยจะถูกส่งไปยังพืชผ่านทางระบบน้ำหยดหรือระบบสระว่ายน้ำที่ขับเคลื่อนด้วยปั๊ม การปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์ มีประโยชน์ในเรื่องการเก็บเกี่ยวที่ง่ายมากขึ้น การควบคุมสารอาหารและระดับ pH รวมถึงการใช้น้ำน้อยลงเพราะสิ่งที่ไม่ได้ถูกดูดซึมโดยรากพืชนั้นจะสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้โดยการผ่านระบบเดิม

3D Printer Materials Market Worth to Future
การพิมพ์ 3 มิติ ถูกกำหนดให้เป็นกระบวนการผลิตแบบเพิ่มเติมสำหรับการสร้างวัตถุของแข็งสามมิติ โดยการเพิ่มชั้นของวัสดุในลักษณะการเขียนวัตถุทีละชั้น อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์นี้เรียกว่าเป็น 3D Printer หรือเครื่องพิมพ์ 3 มิติ โดยตลาดวัสดุการพิมพ์

3D Printer Tissue
Print tissues ในปัจจุบันมักจะเป็นการพิมพ์งานทางชีวภาพ สามารถใช้ในการพิมพ์เนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ เพื่อช่วยในการวิจัยยาและยาเม็ด อย่างไรก็ตามนวัตกรรมที่เกิดขึ้นใหม่มีตั้งแต่การพิมพ์ทางชีวภาพของเซลล์ หรือเมทริกซ์นอกเซลล์ ที่พิมพ์ 3 มิติ ในแบบชั้นเจล ทีละชั้น

3D Printing PEEK filament
Polyether ether ketone (PEEK) เราจะคุ้นชินกับชื่อ “PEEK” ซึ่งเป็นพอลิเมอร์เทอร์โมพลาสติกอินทรีย์ที่ไม่มีสี อยู่ในตระกูลเดียวกับ polyaryl ether ketone (PAEK)

3D printer PAEK filament
Poly aryl ether ketone (PAEK) PAEK เริ่มถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรกในช่วงต้นปี 1970 มีชื่อเต็มว่า “Poly aryl ether